Page 6 - แบบฝึกบุคคลท่าอาวุธ พ.ศ.2560
P. 6
พระราชประวัติ
้
ึ
พระราโชบายดานการฝก
๒.ปรัชญา “การ Simmer หรือการตุ๋นไข่พะโล้” ทรงเปรียบเทียบลักษณะการฝึกอบรมทหารเหมือนกับ
การตุ๋นไข่พะโล้ให้มีรสชาติอร่อย แม่ครัวจะต้องน าไข่ต้มมาแกะปอกเปลือก แล้วน าไปตุ๋นในน้ าพะโล้ โดยใช้ความร้อน
และเวลาที่เหมาะสม น้ าพะโล้จึงจะค่อยๆ แทรกซึมเข้าไปยังเนื้อไข่ หากแม่ครัวเร่งรีบเกนไป เมื่อผ่าไข่ออกกจะเห็นเพยง
็
ิ
ี
ภายนอกที่มีสีน้ าตาลแต่เนื้อในยังมีสีขาว เนื่องจากน้ าพะโล้ยังไม่แทรกซึมเข้าเนื้อไข่อย่างแท้จริง เปรียบเสมือนกับการฝึก
หากฝึกอบรมแบบไม่จริงจัง ปฏิบัติแบบยวบยาบ เน้นแต่ภาพลักษณ์ที่ดูสวยงาม แต่ไม่เน้นเนื้อหาสาระ ไม่เคี่ยว ไม่อบ
ไม่กลั่นให้ผู้รับการฝึกได้มีความรู้อย่างแท้จริง ก็จะไม่สามารถน าความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้
๓.ปรัชญา “มาตรฐานหน่วย ทม.รอ.” สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงด ารงต าแหน่งองค์ผู้บัญชาการหน่วย
บัญชาการถวายความปลอดภัยรักษาพระองค์ ตั้งแต่เมื่อครั้งยังทรงด ารงพระอสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ
ิ
สยามมกุฎราชกุมาร ซึ่งพระองค์ทรงสั่งสอนให้ข้าราชบริพารได้ยึดถือ และรักษาไว้ซึ่งเกียรติยศ เกียรติศักดิ์ของ
ทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์ที่มีเกียรติประวัติของหน่วยมาอย่างยาวนาน การจะรักษาไว้ซึ่งเกียรติยศ
และเกียรติศักดิ์ของหน่วยได้นั้น หน่วยจะต้องมีมาตรฐานการฝึกการปฏิบัติที่ถูกต้องเป็นไปตามพระราชประเพณี
พระราโชบาย พระราชนิยม และต้องมีความต่อเนื่องในการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับคนรุ่นหลังที่เข้ามาถวายงานใหม่
โดยทรงยกตัวอย่างเหมือนผลิตภัณฑ์ยี่ห้อต่างๆ (Brand) ที่มีคุณภาพ ก็จะพยายามรักษามาตรฐานผลิตภัณฑ์ของตน
เพื่อให้ผู้บริโภคมีความเชื่อมั่น หน่วยทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์ จึงมีหน้าที่ในการรักษา
“มาตรฐานหน่วย ทม.รอ.” เพื่อที่จะสามารถปฏิบัติหน้าที่ถวายงานต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สืบไป
๔.ปรัชญา “รถ SIKU (SIKU, ซิกู้
”
เป็นยี่ห้อรถยนต์ของเล่นจ าลองขนาดเล็ก) ที่สมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวฯ โปรดตั้งแต่เมื่อครั้งยังทรงพระเยาว์
ซึ่งจะทรงเลือกรถ SIKU ชนิดเดียวกันจ านวน
หลายๆ คัน และจะทรงทดสอบทุกคันด้วยพระองค์เอง
หากรถ SIKU คันใดมิได้มาตรฐาน ระบบขับเคลื่อน
ยังไม่ดี เข็นรถแล้ววิ่งไม่ตรงทิศทาง เอยงซ้ายเอยงขวา
ี
ี
ก็จะทรงถอดชิ้นส่วนน ามาปรับแต่ง ทดสอบจนกว่า
จะได้มาตรฐาน เปรียบเสมือนการที่ครูผู้ฝึกสอน
จะต้องมั่นสังเกต ให้ค าแนะน าเคี่ยวเข็ญ
ให้ผู้รับการฝึกสามารถเรียนรู้ และปฏิบัติได้
อย่างถูกต้อง
๕.ปรัชญา “รากหญ้า” สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พระราชทานค าสอนให้ข้าราชบริพาร และผู้ใต้บังคับบัญชา
ื้
ของพระองค์เรียนรู้ ให้ลึกซึ้งถึงรายละเอียดของแต่ละภารกิจ ให้ถึงในระดับพนฐานหรือระดับล่าง ที่ทรงเปรียบเทียบกับ
ค าว่า “รากหญ้า” ครั้นเมื่อรับราชการจนมีความเจริญก้าวหน้าเป็นผู้บังคับบัญชาแล้ว จะได้ให้ค าแนะน า และให้ความ
ช่วยเหลือแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา ร่วมทุกข์ร่วมสุข พร้อมทั้งด ารงตนเป็นแบบอย่างที่ดี เป็นที่เลื่อมใสศรัทธาแก่
ผู้ใต้บังคับบัญชา
โรงเรียนทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค ์
หน่วยทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค ์